2 หน่วยที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับธุรกิจชุมชน
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
โดย ดร.ทิวากร เหล่าลือชา
วิสาหกิจชุมชน คือ?
คือกิจการของชุมชน เกี่ยวกับการผลิตสินค้า/ให้บริการ หรือการอื่นๆ เพื่อสร้างรายได้ และการพึ่งพาตนเองของครอบครัว ชุมชน และระหว่างชุมชน
\”อุทยานวิทยาศาสตร์\” ยกระดับธุรกิจชุมชน : ภูมิปัญญาปลาส้ม
คุณพัชรินทร จำรัส ลูกสาวแม่ทองปอน ผู้สืบทอดภูมิปัญญาปลาส้มจากบรรพบุรุษที่ตกทอดกันมารุ่นสู่รุ่น ในช่วงแรกทำการผลิตและจัดจำหน่ายโดยกลุ่มสตรีสหกรณ์ผู้ผลิตปลาส้มบ้านสันเวียงใหม่ ซึ่งเป็นการรวมตัวกันของคนในชุมชน หลังจากนั้นปลาส้มของแม่ทองปอนได้รับความนิยมและเป็นที่ต้องการของตลาดมากขึ้น จึงมีความต้องการที่จะใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้ามาพัฒนาผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิต จึงมีโอกาสได้เข้าร่วมโครงการบ่มเพาะธุรกิจวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมกับอุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา โดยพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่และขายธุรกิจควบคู่กับการขยายตลาดในนาม ห้างหุ้นส่วนจำกัดปลาส้มไร้ก้างแม่ทองปอน ซึ่งปัจจุบันได้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลาย เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าที่เพิ่มมากขึ้น โดยห้างหุ้นส่วนปลาส้มแม่ทองปอนยังได้สอดแทรกวิถีชีวิต รอยยิ้มและความร่วมมือของคนในชุมชนด้วยการใช้วัตถุดิบที่มาจากชุมชน ซึ่งอุทยานวิทยาศาสตร์ได้เข้ามาสนับสนุนและให้ความสำคัญในการยกระดับธุรกิจชุมชน ทำให้คนในชุมชนมีรายได้และมีความสุข
ติดตามข่าวสารเพิ่มเติมได้ทาง Website https://www.mhesi.go.th/
และช่องทาง Social Media
Facebook : https://www.facebook.com/MHESIThailand/
Twitter : https://twitter.com/MHESIThailand/
โครงการ “โตโยต้า ธุรกิจชุมชนพัฒน์” ปันความรู้ สู่สังคมไทยยั่งยืน
เรื่องราวของคุณ สายทิพย์ ลามา หนึ่งในผู้ประกอบการธุรกิจชุมชนไทย ที่ได้รับการแบ่งปันประสบการณ์และความรู้ จากโครงการ โตโยต้า ธุรกิจชุมชนพัฒน์ จนสามารถยืนหยัดได้ด้วยตัวเอง สร้างความยั่งยืนให้กับธุรกิจ และเกิดเป็นความสุขที่แท้จริงกับคนในชุมชน
ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://www.toyota.co.th/tsi
โตโยต้าธุรกิจชุมชนพัฒน์ ปันความรู้สู่สังคมไทยยั่งยืน SharingisCaring
ธุรกิจชุมชนสร้างไทย วสช.ผ้าทอนาหมื่นศรี จ.ตรัง | No.60
ธุรกิจชุมชน หมายถึง กิจกรรมทางธุรกิจของชุมชนอันประกอบด้วย อาชีพเกษตรกรรมอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และบริการ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมตลอดห่วงโซ่มูลค่าได้แก่ การผลิต รวบรวม แปรรูป และตลาด ที่มุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรของชุมชนเป็นหลัก โดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน มีการ บูรณาการความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชน ตลอดจนมีการแบ่งปันผลประโยชน์ที่เกิดขึ้น อย่างเกื้อกูล และเป็นธรรม
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆImage